บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

สมาชิกการจัดการห้อง B ปี60

สมาชิกในชั้นเรียน อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค  อาจารย์ปาล์ม 1.นาย เกียรติศักดิ์  เกตุอักษร  ไฟล์ 2.นา ย จรณะ  เเท่งทอง  เปา 3.นางสาวเฉลิม  ศรีมณี  เจล 4.นายชาติศิริ  รัตนชู   ติ้บ 5.นายชินวัตร์  เพ็รชโสม  เเมน 6. นายณฐกร ชัยปาน โจ 7. นายณัฐกร สงสม จ๊อบ 8. นายณัฐพล วงศ์สุขมนตรี เกม 9. นางสาวทัศนีย์วรรณ กาญจนโนภาส สา 10. นายธัณว้ตร์ แก้วบุษบา ธัน 11. นายนราธร จันทรจิตร เนม 12. นางสาวนิชาภัทร เพ็ชรวงศ์ แอม 13. นางสาวเบญญทิพย์ ฆังคสุวรรณ อ้าย 14. นางสาวปัถยา บุญชูดำ ปัด 15. นายพศวัต บุญแท่น อ๊อฟ 16. นางสาวแพรพลอย พรหมประวัติ แพร 17. นายไฟซ้อล ประชานิยม ซอล 18. นายภูมิภัทร์ สรรนุ่ม อ้วน 19. นายยศกร บัวดำ ทาย 20. นางสาวรัฐชา วงศ์สุววรณ เบญ 21. นายเรืองศักดิ์ ใหม่แก้ว เอ็ม 22. นางสาววลีพร ลิขิตธีระกุล นุ๊ก 23. นายวาทิศ อินทร์ปราบ เบนซ์ 24. นางสาววิภารัตน์ ดำสุข ออม 25. นางสาวศศิธร ชูปาน จูน 26. นายสุภกิจ ดิเลส ดุกดิก 27. นายเศรษฐชัย ฐินะกุล ตาล 28. นายสราวุธ จันทร์แก้ว ฟิลม์ 29. นายสุชาครีย์ งามศรีตระกุล เบ

ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ

รูปภาพ
ระบบ AS/RS AS/RS     ระบบการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุอัตโนมัติ   (Automated Storage/Retrieval System  เรียกโดยย่อว่า  AS/RS)   คือ   การทำงานของระบบการจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบการจัดเก็บวัสดุ การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบ  AS/RS  แบ่งออกเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ - Unit Load AS/RS - Miniload AS/RS - Man-on-Board AS/RS  หรือ  Manaboard AS/RS - Automated Item Retrieval System - Deep-Lane AS/RS          องค์ประกอบพื้นฐานของระบบ  AS/RS 1.        โครงสร้างที่เก็บวัสดุ  (Storage Structure) 2.        เครื่อง  S/R (Storage/Retrieval Machine) 3.        หน่วยของการเก็บวัสดุ  (Storage Module) 4.        สถานีหยิบและฝากวัสดุ  (Pickup and Deposit Stat

หุ่นยนต์ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม

                                                        หุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด      การเก็บกู้วัตถุระเบิดเป็นภารกิจที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นหรือปัจจัยแทรกซ้อนอื่นๆมาเกี่ยวข้องก็อาจทำให้เกิดผลลัพธ์ที่น่าเศร้าและนำมาซึ่งการบาดเจ็บหรือสูญเสียชีวิต และเฉพาะอย่างยิ่งในขณะนี้ที่รูปแบบการก่อเหตุระเบิดที่ปรากฎในหลายพื้นที่มากขึ้นทั้งในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และจังหวัดท่องเที่ยว เจ้าหน้าที่เก็บกู้และตรวจพิสูจน์วัตถุระเบิดจึงจำเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้ทักษะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เพื่อรับมือกับการก่อเหตุที่ซับซ้อนและมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบที่หลากหลายและรุนแรงมากขึ้ น                                        หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม                                                                                      ปัจจุบันในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีสายการผลิตด้วยเครื่องจักรกลประเภทหุ่นยนต์ซึ่งนับว่าเป็นเครื่องจักรกลอัตโนมัติในสายการผลิตที่จำเป็นอย่างยิ่งแต่หุ่นยนต์ในโรงงานเหล่านี้ยังแยกอยู่คนละแผนกหรือบริเวณกับมนุษย์อย่างชัดเจนทำหน้าที่ยกหรื